เชื้อเพลิง |
Gasifier Thai
เตาผลิตความร้อน ชนิด Three stages Gasifier
วันพุธที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2559
วันศุกร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555
ประเภทของ Gasisifer
เป็นเตาผลิตก๊าซที่ใช้ตั้งแต่แรกเริ่ม และเป็นแบบที่ง่ายที่สุด ดังแสดงในภาพที่ 1 (Breag และ Chitten, 1979) เชื้อเพลิงถูกป้อนเข้าทางด้านบนของเตาและอากาศถูกส่งผ่านตะแกรงเข้ามาทางด้านล่างเหนือตะแกรงขึ้นไป จะมีการเผาไหม้เชื้อเพลิงบริเวณนี้เรียกว่า บริเวณเผาไหม้ เมื่อมีอากาศผ่านเข้าไปในบริเวณเผาไหม้ จะเกิดปฏิกิริยาขึ้น ได้คาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ก๊าซ ที่ผ่านออกมาจากบริเวณเผาไหม้จะมีอุณหภูมิสูงและจะเข้าไปยังบริเวณรีดัคชัน ที่บริเวณนี้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ จะทำปฏิกิริยากับคาร์บอนทำให้เกิด คาร์บอนมอนอกไซด์และ ไฮโดรเจน หลังจากนั้นก๊าซที่ได้จะไหลเข้าสู่บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าใน ชั้นของชีวมวล และกลั่น สลายในช่วงอุณหภูมิ 200 – 500 องศาเซลเซียส ต่อจากนั้นก๊าซก็จะไหลเข้าสู่ชั้นของชีวมวลที่ชื้น เนื่องจาก ก๊าซยังมีอุณหภูมิสูงอยู่ จึงไประเหยน้ำที่อยู่ในชีวมวล เหล่านั้น ทำให้ก๊าซที่ออกจากเตา ผลิตก๊าซมีอุณหภูมิต่ำลง
วันอาทิตย์ที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2555
พระเทพฯเสด็จเปิดงาน
เตาชีวมวล 200 kW |
ข่าวในพระราชสำนัก
วันเสาร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2555
Cleaned producer gas form Three Stages Gasifier 2
ด้านนอก
แก๊สที่ดีสำหรับติดเครื่องยนต์
แก๊สที่ดีสำหรับติดเครื่องยนต์
วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2555
หลักการทำงานของ Three Stages Gasifier
เตา ….
ระบบ 3 Stages Gasifier เป็นระบบที่ผลิตก๊าซชนิดนี้มีลักษณะที่แตกต่างจากระบบผลิตก๊าซชีวมวลอื่น ๆ คือ มีการทำงานทั้งหมด 3 ขั้นตอน ดังนี้ Drying , Pyrolysis และส่วนของ Gasification ซึ่งเป็นแบบ Down-draft gasification แยกจากกัน คุณสมบัติของเตาชนิดนี้ต่างจากเตาแบบอื่น ๆ คือ ก๊าซเชื้อเพลิงที่ได้จากเตา (producer gas) มีปริมาณส่วนผสมของทาร์น้อยมาก ทั้งนี้เนื่องจากอุณหภูมิที่ใช้ในการเผาไหม้ค่อนข้างสูง (มากกว่า 850 C) ทำให้ทาร์ลดปริมาณลงต่ำกว่า 25 mg/Nm3 ก๊าซที่ได้ออกมาจึงค่อนข้างมีความสะอาด
รูปที่ 1 ขั้นตอนการทำงานของ 3 Stages Gasifier |
วันเสาร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2555
Cleaned producer gas form Three Stages Gasifier
Cleaned producer gas form 3 Stages Gasifier
แก๊สจาก 3 Stages Gasifier
ความหมายของก๊าซชีวมวล (Biomass for Gasifier)
ความหมายของก๊าซชีวมวล (Biomass for Gasifier)
กระบวนการเปลี่ยนเชื้อเพลิงแข็งให้อยู่ในสภาพก๊าซที่เรียกว่า กระบวนการผลิตก๊าซ (Gasification) จะเกิดขึ้นได้จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็งในสภาพที่มีออกซิเจนจำกัด เกิดความร้อนบางส่วน และความร้อนนี้จะไปเร่งปฏิกิริยาต่อเนื่องอื่นๆ ให้กลายเป็นก๊าซเชื้อเพลิง (Foley และ Barnard, 1983) ก๊าซเชื้อเพลิงที่ได้จากกระบวนการผลิตก๊าซนี้เรียกว่า ก๊าซชีวมวล (Producer gas)เชื้อเพลิงแข็งต่างๆ ได้แก่ ไม้ แกลบ ขี้เลื่อย (เศษวัสดุเหลือใช้จาการเกษตร) สามารถนำมาเผาไหม้ให้ความร้อนได้โดยตรงเหตุที่ต้องแปรรูปเชื้อเพลิงแข็งให้เป็นก๊าซเชื้อเพลิง เพราะว่าก๊าซเชื้อเพลิงสามารถให้ความร้อนและประสิทธิภาพสูงในการเผาไหม้ การเผาไหม้ของก๊าซเชื้อเพลิงสามารถควบคุมได้ ก๊าซที่ได้จากการเผาไหม้มีเขม่าน้อย และก๊าซเชื้อเพลิงสามารถขนส่งไปยังที่ต่าง ๆ ได้สะดวก
แกลบเป็นเชื้อเพลิงที่เหมาะสมที่สุดในขณะนี้ |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)